ข้อมูลสินค้า
ตัวอย่างหนังสือ
Download https://serazu.com/web/download/link-file?id=1500
สรุปเนื้อหาและเทคนิคการทำข้อสอบ ทั้งวิชาความสามารถในการวิเคราะห์ (การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา (ภาษาไทย), การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม (ด้านเหตุและผล) และการคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ (การคำนวน - คณิตศาสตร์)), วิชาภาษาอังกฤษ และวิชาความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี (กฎหมาย) โดยเน้นเฉพาะเนื้อหาที่ออกสอบบ่อยเท่านั้น ใช้ไดอะแกรมและสีช่วยในการอธิบายเพื่อให้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายยิ่งขึ้น ใช้เวลาอ่านน้อย เหมาะสำหรับใช้ทบทวนก่อนสอบ หรือผู้ที่มีเวลาอ่านหนังสือน้อยรายละเอียดเพิ่มเติมเล่มนี้ 1. เป็นสรุปเนื้อหาและเทคนิคการทำข้อสอบที่ออกสอบบ่อยเท่านั้น 2. แนะนำการสอบ ก.พ. e-Exam 3. ใช้เวลาอ่านน้อย เหมาะสำหรับใช้ทบทวนก่อนสอบ
เตรียมตัวก่อนสอบ หลักเกณฑ์การสอบแข่งขันเข้ารับราชการความรู้ความสามารถทั่วไป (ภาค ก.) การสอบวัดความรู้ความสามารถทั่วไป (Paper & Pencil) แนวทางการปฏิบัติของผู้เข้าสอบในวันสอบ ระเบียบการเข้าห้องสอบ การสอบวัดความรู้ความสามารถทั่วไปด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) การเตรียมตัวไปสอบ การรายงานตัว การเข้าสอบและลงทะเบียนสอบ การสอบ การคิดวิเคราะห์เชิงภาษา ทบทวนความรู้ภาษาไทยเบื้องต้น 1. ชนิดของคำ 2. เทคนิคการสังเกตประโยคบกพร่อง การเรียงประโยค หลักการทำโจทย์เรียงประโยค การอ่านบทความและความเข้าใจภาษา 1. หลักการทำโจทย์การอ่านบทความ 2. สรุปเทคนิคการตีโจทย์ การคิดวิเคราะห์เชิงนามธรรม การอุปมาอุปไมย 1. หลักการทำโจทย์อุปมาอุปไมย 2. สรุปความสัมพันธ์ของโจทย์อุปมาอุปไมย การสรุปความจากภาษา (เงื่อนไขทางภาษา) หลักการทำโจทย์การสรุปความจากภาษา การสรุปความจากสัญลักษณ์ (เงื่อนไขทางสัญลักษณ์) 1. หลักการทำโจทย์การสรุปความจากสัญลักษณ์ 2. คุณสมบัติของเครื่องหมายที่ควรทราบ การคิดวิเคราะห์เชิงปริมาณ อนุกรม 1. อนุกรมแบบเพิ่ม/ลดด้วยค่าคงที่ 2. อนุกรม 1 ชุด แบบยกกำลัง 3. อนุกรมเพิ่มขึ้นแบบต่อเนื่อง 4. อนุกรมแบบผสม 5. อนุกรมแบบแยกชุด 6. อนุกรมแบบเศษส่วน พื้นฐานคณิตศาสตร์ 1. การเปรียบเทียบมาตราส่วน 2. การหา ห.ร.ม. และ ค.ร.น. 3. การหาค่าเปอร์เซ็นต์ หรือร้อยละ 4. การหาอัตราส่วน 5. การหาพื้นที่ 6. การหาอัตราเร็ว ระยะทาง และเวลา 7. เลขยกกำลัง การวิเคราะห์ตารางข้อมูล ภาษาอังกฤษ Part of Speech (ชนิดของคำ) 1. Noun (n.) : คำนาม 2. Verb (v.) : คำกริยา 3. Adjective (adj.) : คำคุณศัพท์ 4. Adverb (adv.) : คำวิเศษณ์ 5. Pronoun (Pro.) : คำสรรพนาม 6. Preposition (Prep.) : คำบุพบท 7. Conjunction : คำสันธาน 8. Interjection : คำอุทาน Article (คำนำหน้าคำนาม) 1. a, an 2. the Tense 1. Present Simple 2. Present Continuous 3. Present Perfect 4. Present Perfect Continuous 5. Past Simple 6. Past Continuous 7. Past Perfect 8. Past Perfect Continuous 9. Future Simple If-Clause 1. Zero Conditional Sentence 2. First Conditional Sentence 3. Second Conditional Sentence 4. Third Conditional Sentence Comparison 1. Positive Degree : ขั้นปกติ 2. Comparative Degree : ขั้นกว่า 3. Superlative Degree : ขั้นสุด ความรู้และลักษณะการเป็นข้าราชการที่ดี ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน การบริหารราชการ ส่วนกลาง (บริหารแบบรวมอำนาจ) 1. สำนักนายกรัฐมนตรี (ฐานะเท่ากระทรวง) 2. กระทรวง 3. ทบวง 4. กรม การบริหารราชการ ส่วนภูมิภาค (บริหารแบบแบ่งอำนาจ) 1. จังหวัด มีฐานะเป็นนิติบุคคล (ม.52) 2. อำเภอ (ม.66) การบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น (บริหารแบบกระจายอำนาจ) 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด 2. เทศบาล 3. สุขาภิบาล 4. ราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่มีกฎหมาย กำหนด คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดประโยชน์สุขของ ประชาชน (ม.7-ม.8) 2. การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ (ม.9-ม.19) 3. การบริหารราชการอย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจของรัฐ (ม.20-ม.26) 4. การลดขั้นตอนปฏิบัติงาน (ม.27-ม.32) 5. การปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ (ม.33-ม.36) 6. การอำนวยความสะดวกและการตอบสนอง ความต้องการของประชาชน (ม.37-ม.44) 7. การประเมินผลการปฏิบัติราชการ (ม.45-ม.49) วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 1. คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง 2. คำสั่งทางปกครอง 3. คู่กรณี (ม.21-ม.25) 4. การพิจารณา (ม.26-ม.33) 5. รูปแบบและผลของคำสั่งทางปกครอง (ม.34-ม.43) 6. การเพิกถอนคำสั่งทางปกครอง (ม.49-ม.53) 7. การขอพิจารณาใหม่ (ม.54) 8. ระยะเวลาและอายุความ (ม.64-ม.67) หน้าที่และความรับผิดในการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 1. คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) 2. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) 3. ข้าราชการพลเรือน เจตคติและจริยธรรมสำหรับข้าราชการ ข้อบังคับ ก.พ. ว่าด้วยจรรยาบรรณของข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2537 1. จรรยาบรรณต่อตนเอง 3 ประการ 2. จรรยาบรรณต่อหน่วยงาน 4 ประการ 3. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน 5 ประการ 4. จรรยาบรรณต่อประชาชนและสังคม 3 ประการ ข้อบังคับสำนักงาน ก.พ. ว่าด้วยจรรยาข้าราชการสำนักงาน ก.พ. พ.ศ. 2552 พ.ร.บ.มาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562 1. มาตรฐานทางจริยธรรม และประมวลจริยธรรม 2. คณะกรรมการมาตรฐานทางจริยธรรม (ก.ม.จ.) 3. การรักษาจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของรัฐ นโยบายและแผนระดับประเทศที่สำคัญ
หยิบใส่ตะกร้า
หยิบใส่ตะกร้า
หยิบใส่ตะกร้า